วันอังคารที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2555

เทคนิคการสอนโดยใช้เพลง




ดูแลสุขภาพดวงตาง่ายๆ ด้วยโยคะสายตา

ดูแลสุขภาพดวงตาง่ายๆ ด้วยโยคะสายตา




ชีวิตยุคไอที การใช้งานคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ที่ทันสมัย
เพื่อทำงาน หรือติดตามข่าวสาร จำเป็นต้องใช้สายตาจ้องมองเป็นเวลานาน การดูแลสุขภาพดวงตาจึงเป็นสิ่งสำคัญ

เทคนิคเพื่อบริหารดวงตาให้มีสุขภาพดีนั้นมีหลากหลาย โยคะมีการบริหารดวงตา
โดยต้องถอดแว่นหรือคอนแทคเลนส์ออกก่อน แล้วทำตามขั้นตอนง่ายๆ ดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 หลับตาแล้วถูฝ่ามือสองข้างเข้าหากันไปมาอย่างเร็วจนรู้สึกร้อน

ขั้นตอนที่ 2 ประคบฝ่ามือทั้งสองข้างนาบกับหนังตานานประมาณ 1 นาที
ให้รู้สึกถึงความร้อนที่แผ่จากฝ่ามือสู่ดวงตา

ขั้นตอนที่ 3 ผ่อนคลายความเคร่งเครียดทั้งมวลลงพร้อมทั้งหายใจลึกๆ
นำมือออก ลืมตาขึ้น

ขั้นตอนที่ 4 เคลื่อนสายตาจากซ้ายไปขวา โดยมองไปยังที่ไกลๆ จากมุมซ้ายสุด
แล้วกวาดสายตาไปยังมุมขวาสุด ทำซ้ำกัน 4 ครั้ง

ขั้นตอนที่ 5 ทำซ้ำขั้นตอนที่ 1-3 แล้ว เคลื่อนสายตาจากมุมขวาบนไปยัง
มุมซ้ายล่างเป็นเส้นทแยงมุม ทำซ้ำๆ กัน 4 ครั้ง

ขั้นตอนที่ 6 ทำซ้ำขั้นตอนที่ 1-3 แล้ว เคลื่อนสายตาโดยกวาดสายตาเป็นวง
(ทิศทางตามเข็มนาฬิกา) ทำซ้ำกัน 4 ครั้ง

ขั้นตอนที่ 7 ทำซ้ำขั้นตอนที่ 1-3 แล้ว
เคลื่อนสายตาจากบนสุดลงมายังจุดล่างสุด
โดยมองไปยังจุดไกลๆ ที่สุดด้านบน
แล้วกวาดสายตาลงมายังจุดด้านล่างอย่างช้าๆ
ทำซ้ำกัน 4 ครั้ง

ขั้นตอนง่ายๆ ที่ทำได้ด้วยตนเองเพียงแค่นี้ ก็สามารถดูแลดวงตาให้มีสุขภาพดี

วันจันทร์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2555

วันอาทิตย์ที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2555

Individualized Instruction




วิธีการสอนตามเอกัตภาพ 




        วิธีการสอนตามเอกัตภาพ ( Individualized Instruction ) วิธีการสอนในรูปแบบนี้ ผู้เรียนเริ่มมีบทบาทจากการเป็นผู้รับเพียงฝ่ายเดียวมาเป็นผู้ที่มีส่วนร่วม ในการเรียนการสอนมากขึ้นเป็นลำดับ

วันเสาร์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2555

วิธีสอนแบบอภิปราย

DISCUSSION METHOD
           The discussion method is one in which the students and the instructor exchange their ideas in order to get a better understanding of a topic. It can be a whole period or be a part of a lesson.
       The discussion method, when used properly, is a good way to stimulate thinking on the part of the student. It can be used to advantage when the students have a background knowledge of the subject being discussed. The instructor should prompt everyone to take part, thus allowing the students the opportunity to learn from everyone in the group. The discussion method is interaction centered and can be teacher or student centered, and can be held in either a large or small group. Interaction techniques capitalize on the human desire to talk and share one’s thoughts. Personal activity permits greater involvement in the lesson.
Advantages and Special Used of the Discussion Method
1. Expands the cognitive and effective domains of students.
2. Can be used to solve problems and develop interest in the topic.
3. Emphasizes main teaching points.
4. Utilizes student knowledge and ideas.
5. Results in more permanent learning because of the high degree of student
involvement.
6. Determine student understanding and progress.
7. Everyone has a chance to get involved.
8. Teaches how to come to an agreement within a group without arguing.
9. Permits students are teacher to get acquainted.
Limitations of the Discussion Method
1. Tend to get off topic if the instructor doesn't continually redirect ideas.
2. More informed and eager pupils tend to monopolize the discussion.
3. Not suitable for presenting information for the first time.
4. Not very effective in describing procedures or breakdown of a component.
5. Content is limited and the method is time consuming.
6. It restricts the size of groups.
7. The larger the groups the more difficult it is to guide the discussion.
8. Knowledge of the group.
Preparing for a Discussion
        Planning for a lesson wherein you intend to use the GUIDED discussion method is basically the same as planning for a lesson using the lecture method. Generally,before you decide to use the guided discussion, you must consider the objectives rather carefully. You must also consider your students to determine whether they have the knowledge required to exchange and build on to arrive at an achievement of your objectives.
        As with any lesson, your first step is to establish specific, student-centered,behavioral objectives. Once you have planned your objective and some way of evaluating achievement, you may find it necessary to do some personal research.The discussion leader must be very well informed about the objectives. Organize
your main teaching points and your subordinate points in logical sequence and plan at least one lead-off question per teaching point. It is also wise to anticipate some of the material you will get from your students and plan follow-up questions for areas where you feel difficulties could arise.
Leading the Discussion
        Careful planning makes presentation relatively straightforward. The introduction to the guided discussion lesson is  standard, having only the added responsibility on your part to try to create the atmosphere necessary to good discussion. As part of the motivation, you can remind the students that it is their responsibility to contribute.
       During the “presentation” – the actual discussion itself – questions are the key. These must be planned and organized carefully for continuity, direction and control. The nature of the questions you plan will be determined by the objectives. Avoid questions that ask for only short answers the “who” or “when” type. Ask broad question, the “why” or “how” type.
      You must be prepared to guide the discussion along any track, so long as the discussion still remains profitable in view of your objectives. Once you begin to put off the track, the thing to do is for you to halt the discussion, provide a summary of valid points made to date, then provide a new leading question that will put the discussion back on the rails.
       Visual aids may be used during guided discussion just as in any other lesson. You may find the chalkboard a very flexible and useful aid for interim summaries as the development of material progresses during the discussion. Flip charts may also be put to good use. Other types of visual-aids like films transparencies, tapes, etc.can be very useful in providing background information.
Concluding
        Concluding the guided discussion may take several forms. Depending on what method of evaluation you selected, you may wish to provide an oral or written test before finalizing. Generally, you must summarize the main ideas developed by the students during discussion, and relate them firmly to the objectives. Let your students know what they accomplished and praise them, as they deserve.
       During guided discussion lessons, you must be aware of individual personalities among your students. Encourage the considerate, rebuke the rude, and emphasize the worth of individual thought no matter if the thought does not happen to border on genius. Boost the shy student into the discussion; hold back the brash one who would take over. As for all other forms of instruction, thorough personal preparation is the key to success.
อ้าง : http://xnet.rrc.mb


สรุปวิธีสอนแบบอภิปราย

         วิธีการสอนแบบอภิปราย เป็นวิธีการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียน รู้จักการทำงานเป็นกลุ่ม รวมพลังความคิดเพื่อพิจารณาหาทางแก้ไขปัญหา หาข้อเท็จจริง

ข้อดีและวิธีการใช้วิธีสอนแบบการอภิปราย
  1. ขยายองค์ความรู้และขอบเขตของความรู้ที่มีประสิทธิภาพให้กับนักเรียน
  2. สามารถนำมาใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาความสนใจในหัวข้อที่เรียน
  3. เน้นหลักการเรียนการสอนเป็นสำคัญ
  4. ใช้ประโยชน์จากความรู้และความคิดของนักเรียน
  5. ได้ผลลัพธ์ในการเรียนรู้อย่างถาวรเนื่องจากระดับการมีส่วนร่วมของนักเรียนอยู่ในระดับที่สูง
  6. กำหนดความเข้าใจของนักเรียนและความก้าวหน้า
  7. ทุกคนมีโอกาสที่จะมีส่วนร่วม
  8. สอนวิธีการหาข้อตกลงกันภายในกลุ่มโดยไม่ต้องโต้เถียง
  9. อนุญาติให้นักเรียนได้ทำความคุ้นเคยกับครูผู้สอน
ข้อจำกัดของวิธีสอนแบบอภิปราย
  1. มีแนวโน้มที่ออกนอกหัวข้อที่เรียน ถ้าการเปลี่ยนทิศทางความคิดของผู้สอนไม่มีความต่อเนื่อง
  2. เพิ่มเติมข้อมูลและความกระตือรือร้นของนักเรียนที่จะผูกขาดการอภิปราย
  3. ไม่เหมาะสมในการนำเสนอข้อมูลเป็นครั้งแรก
  4. ไม่มีประสิทธิภาพมากในการอธิบายวิธีการหรือรายละเอียดขององค์ประกอบ
  5. เนื้อหามี จำกัด และวิธีการนี้จะทำให้เสียเวลา
  6. จำกัดขนาดของกลุ่ม
  7. ถ้าเป้นกลุ่มใหญ่จะมีความยากในการแนะนำการอภิปราย
  8. ได้รับความรู้เพียงแค่คนในกลุ่ม


Discussion Method

Discussion Method 


คำคมซึ้งๆ


Never get tired of doing little things for others. Sometimes those little things occupy the biggest part of their hearts. 
อย่าเบื่อหน่ายกับการทำสิ่งเล็ก ๆ เพื่อคนอื่น เพราะบางครั้งสิ่งเล็ก ๆ นั้น อาจกลายเป็นสิ่งยิ่งใหญ่ในหัวใจของคนเหล่านั้น

ครูที่ดี


                                                                 คนใจแคบเท่านั้น
                                                                 คิดว่าครูคือแม่พิมพ์

                                                                 ครูคือผู้ให้คำตอบที่ศิษย์ต้องการ
                                                                 ครูที่ดีชี้และช่วยให้ศิษย์รู้จักตัวของศิษย์
                                                                 ความรู้ทางวิชาการทั้งสิ้นนั้น
                                                                 เป็นเพียงสื่อที่จะนำไปถึงเป้าหมายนี้เท่านั้น

                                                                 เพื่อการพัฒนาชีวิตของศิษย์แล้ว
                                                                 ครูไม่ควรข่มขู่และหลอกล่อ
                                                                 เพื่อให้ศิษย์หวาดกลัวและลุ่มหลง

                                                                 ตัวครูไม่ใช่ปูชนียบุคคล
                                                                 ความเป็นปูชนียบุคคลของครู
                                                                 เกิดอยู่ในการกระทำที่ชอบธรรมของครู

                                                                 ใช่แต่ศิษย์เท่านั้นที่ต้องเคารพครู
                                                                 ครูที่ดีก็ต้องเคารพศิษย์ด้วยจริงใจ

อ้างอิง : http://happyhappiness.monkiezgrove.com/2009/05/21/

วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2555

รู้จักบุคลิกของคนทั้ง 5 มิติ



            ผู้บริหารมากมายว่าจ้างพนักงานใหม่โดยพิจารณาแต่เรื่องทักษะการทำงานเป็นหลัก แต่แล้วก็ต้องเสียใจในภายหลัง การที่พนักงานจะมีประสิทธิภาพการทำงานยอดเยี่ยมได้นั้น ต้องอาศัยองค์ประกอบหลายอย่างด้วย

           บุคลิกภาพที่มีความแตกต่างกันก็เป็นองค์ประกอบหนึ่ง ซึ่งผลการวิจัยจำนวนมากได้แยกแยะมิติพื้นฐาน ที่ทำให้บุคลิกภาพของมนุษย์มีความแตกต่างกัน เอาไว้ 5 กลุ่ม ดังนี้ค่ะ 

1. มิติด้านความชอบเปิดเผย บางคนชอบเปิดเผย โอ้อวด (เปิดเผย ชอบสังคม) แต่บางคนชอบเก็บตัว (สงบเสงี่ยม ขี้อาย)

2. มิติด้านการเชื่อฟัง บางคนมีระดับการเชื่อฟัง สูง (ให้ความร่วมมือ ชื่อใจผู้อื่น) บางคนมีระดับการเชื่อฟังต่ำ (มีความเห็นขัดแย้งกับผู้อื่น มองคนอื่นในแง่ร้าย)

3. มิติด้านความรับผิดชอบ บางคนมีระดับความรับผิดชอบสูง (รู้จักหน้าที่ มีระเบียบ) แต่บางคนก็มีความรับผิดชอบต่ำ (ไว้ใจไม่ได้ ไม่มีระเบียบ)

4. มิติด้านความเจ้าอารมณ์ บางคนมีอารมณ์มั่นคง (สงบเสงี่ยม เชื่อมั่นในตนเอง) บางคนก็อารมณ์แปรปรวน (กระวนกระวาย ไม่มั่นใจ)

5. มิติด้านการเปิดรับประสบการณ์ บางคนเปิดรับประสบการณ์ใหม่ๆ ตลอดเวลา (มีความคิดสร้างสรรค์ อยากรู้อยากเห็น) บางคนก็ปิดตัว (ชอบสิ่งที่เป็นธรรมเนียมปฏิบัติ ชอบสิ่งที่คุ้นเคย)

           บุคลิกภาพทั้ง 5 รูปแบบที่กล่าวมานี้ พบว่ามีเพียงมิติด้านความรับผิดชอบเท่านั้นที่มีความ สัมพันธ์กับประสิทธิภาพการทำงานที่สำคัญ

           ดังนั้นถ้าคุณกำลังมองหาคนที่มีแนวโน้มว่ามี คุณสมบัติเกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพในการทำงานสูง ขอแนะนำให้ว่าจ้างผู้ที่ได้คะแนนด้านความรับผิดชอบสูงไว้ก่อน แต่อย่าเพิ่งคิดว่าจะเลือกแต่คนที่มีติด้านความรับผิดชอบเพียงอย่างเดียว เพราะอย่างไรก็ตาม มิติด้านอื่นก็มีความสัมพันธ์กับงานบางประเภทเช่นกันค่ะ

วันพุธที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2555

บทความให้กำลังใจ




The best way 

To cheer yourself up 

Is to cheer everybody else up 

( mark twain ) 

วิธีที่จะปลุกปลอบใจให้เบิกบานขึ้นได้  ก็คือการปลุกปลอบให้กำลังใจคนอื่นๆ 

ใน 1 ปีมีฤดูที่แตกต่าง บางฤดูฝนพรำจนหัวใจเปียกปอน 

บางฤดูลมหนาวบาดใจจนเจ็บร้าว แต่ในที่สุดก็มีฤดูที่ฟ้าใส 

ทะเลสวย มี ฤดูที่ดอกไม้บานสะพรั่ง มีฤดูที่แสงแดดอบอุ่น 

และว่าวลอยเต็มฟ้า ชีวิตคนเราก็มีฤดูกาลที่แตกต่าง 

เรา จะผ่านพ้นช่วงเวลาที่เลวร้ายได้ไม่ยาก หากเรามี 

ความเชื่อมั่นเต็มเปี่ยม เรามีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน รู้ดีว่าเรา 

จะก้าวไปทางใด รู้ความต้องการของเราเอง รู้ว่ากำลัง 

จะทำอะไร และเรามีพลังใจอย่างเต็มเปี่ยมเพียงใด 

อย่า เป็นกังวลอะไรนักกับภาพลักษณ์ หรือสิ่งที่คนอื่นจะ 

มองเราว่าเป็นอย่างไร จงทำในสิ่งที่เป็นตัวเราเองจริงๆ 

แล้วพอใจกับมัน มากกว่าที่จะคิดทำอะไร เพียงเพื่อคาดหวัง 

ให้คนอื่นมองเราในแง่ดี 

หนทางที่ดีที่สุดที่จะแก้ไขความทุกข์ในใจ คือ 

พยายามหาอะไรทำให้ชีวิตยุ่งเหยิงเข้าไว้ 

ตื่น นอนตอนเช้าพร้อมกับแผนการดีๆ ในวันนั้นแล้วทำ 

ทุกอย่างอย่างใส่ใจ อย่างมีสมาธิ และมีความพึงพอใจตลอดวัน 

แล้วก็หลับตานอนพร้อมกับความสุขใจ ที่ได้ทำทุกอย่างอย่างดี 

ที่สุดแล้ว เพียงแค่นี้คุณก็ไม่มีเวลาจะไปนั่งอมทุกข์แล้วล่ะ 

ใน เมื่อสิ่งที่คาดหวังยังไม่เป็นไปตามที่มุ่งมาดปรารถนา 

เราก็ต้องเรียนรู้ที่จะอยู่ให้ได้กับสิ่งเดิมๆ แล้วลองเริ่มต้น 

กับสิ่งใหม่ ที่จะเป็นไปได้ง่ายกว่า และใกล้มือกว่าที่เคยหวัง 

ความ หวาดกลัวก็เป็นอีกสิ่งหนึ่ง ที่ทำให้เราจมอยู่กับความรู้สึก 

ทุกข์เศร้า จนไม่กล้าที่จะเปลี่ยนแปลงอะไร และไม่กล้าเริ่มต้นใหม่ 

ซึ่งภาวะเช่นนี้ เป็นเรื่องเจ็บปวดมากยิ่งกว่าสภาวะที่เป็นอยู่เสียอีก 

การที่คนอื่นๆ มีความสุขกว่าเรานั้น มิใช่เพราะเขาหัวเราะ 

เสียงดังกว่าเรา แต่เป็นเพราะเรามัวแต่อยากร้องไห้ และ 

ไม่ยอมเปล่งเสียงหัวเราะอย่างเขาเท่านั้น 

หน้า ที่การงานจะไม่ใช้เรื่องที่ทำให้เราเหนื่อยและท้อเลยถ้าเรา 

เติมความรักและความรู้สึกสนุก ใส่ลงไปในขณะปฏิบัติงานด้วย 

บางเวลาแม้มันจะหนักหนาจนเครียดบ้าง แต่ถ้าเรามีจุดหมายที่ 

ชัดเจน มีการวางแผนที่ดีและมีความรับผิดชอบที่เต็มที่ ปัญหา 

ที่รบกวนจิตใจก็จะมีน้อยลง เพราะเราจะสามารถจัดการทุกอย่างได้ 

โดยไม่เห็นว่ามันเป็นภาระอันหนักหน่วงเลยแม้แต่น้อย 

ชีวิต คนควรมีช่วงที่หยุดพักบ้าง ถ้ารู้สึกเหนื่อย ท้อหรือมีทุกข์ 

ที่ใจ การหยุดพักสักครู่ไม่ทำให้ชีวิตถอยหลัง แต่การดันทุรังสู้ 

ไปในขณะที่ไร้เรี่ยวแรงนั้น จะทำให้ย่ำแย่ยิ่งกว่า 

เมื่อไปทางเดิมไม่ได้ ก็ให้เปลี่ยนเส้นทางใหม่ อย่าอ้างว่า 

ชีวิตของคุณไม่มีทางเลือก เพราะความจริงแล้ว ชีวิตมีทางเลือก 

ให้คุณเสมอ เพียงแต่ว่าคุณไม่กล้าพอที่จะเลือกทางอื่นๆเท่านั้นเอง 


ถ้ามีโอกาสที่จะบอกใครสักคนว่าเรารักเขา ก็จงบอกเถิด 


ถ้ามีโอกาสแสดงความรักความห่วงใยให้ใคร ก็อย่าละเลย 

โอกาสนั้น การจะถูกรักตอบหรือไม่ ไม่ใช้เรื่องสำคัญ 

ความรักเป็นความงดงาม ที่เราไม่จำเป็นต้องอับอายหรือกลัว 

เสียศักดิ์ศรีแต่อย่างใด 

                                      ตัดสินใจให้ดีก่อนที่จะทำในเรื่องสำคัญ ซึ่งมีผลเกี่ยวพัน 

ทางกฎหมาย เช่น การช่วยเหลือใครโดยการค้ำประกัน การ 

ให้ยืมเงินเป็นจำนวนมาก หรือการร่วมเข้าหุ้นกับใคร แม้จะ 

เป็นคนกันเอง แต่ควรพิจารณาให้รอบคอบ วันหนึ่งหากเกิด 

ปัญหาแล้วมีเรื่องขึ้นโรงขึ้นศาล ชีวิตจะยุ่งเหยิงและเป็นทุกข์ 

มากกว่าเวลาที่ยอมปฏิเสธเพื่อนไป 

ไม่ ต้องใส่ใจคำวิพากษ์วิจารณ์ของใครๆ เราต้องรู้จักวางเฉย 

แม้จะรู้สึกโกรธหรือเสียใจ แต่มันเป็นไปไม่ได้ที่จะวิ่งไป 

ตอบโต้คำวิพากษ์วิจารณ์ทั้งหลายทั้งปวงได้ ควรให้เวลาเป็น 

เครื่องพิสูจน์การกระทำที่ดีและสม่ำเสมอ ย่อมจะแสดงตัวออกมา 

ได้ชัดเจนกว่าคำวิจารณ์ใดๆ ในวันหนึ่งอย่างแน่นอน 

คำพูดที่อ่อนโยน ความคิดที่งดงาม สามารถชุบชูใจให้ผู้อื่น 

รื่นรมย์ได้ และยังช่วยสมานใจเราเองให้คลายจากความปวดร้าวทั้งปวง 

บาง วันอาจมืดมนราวกับมีเมฆฝนครึ้มท้องฟ้า อยู่ในชีวิตของคุณ 

เต็มไปหมด แต่เราสามารถทำให้มันสดใสและสว่างขึ้นมาได้มิต้อง 

ไปแสวงหาดวงตะวันที่ไหน จิตใจของคุณนั้นแหละคือดวงตะวัน 

แค่ทำให้มันสดใสขึ้นมาให้ได้เท่านั้น 

เขียน ถ้อยคำอบอุ่นแสดงความคิดถึง หรือความยินดีในวาระ 

โอกาสใดก็ได้ส่งให้เพื่อนเก่า คนรู้จักคุ้นเคยกันหรือแม้แต่ญาติ 

ผู้ใหญ่ ส่งความรู้สึกดีๆ ผ่านถ้อยคำถึงผู้อื่นแล้วจิตใจของคุณ 

จะสบายขึ้นเอง 

                                         อย่าคิดถึงแต่ตัวเอง แบ่งปันหัวใจไปห่วงใยอาทรคน 

อื่นๆดูบ้าง คนรอบข้างของคุณคงมีสักคนที่เขากำลัง 

ทุกข์ร้อนหรือเศร้าโศก อาทรเขา ปลอบโยนเขา แม้จะ 

ช่วยเหลืออะไรไม่ได้มาก ขอเพียงแค่แสดงความเป็น 

ห่วงเขาอย่างจริงใจก็เพียงพอแล้ว 

ลองไปตามสถาบันคนตาบอด แล้วอาสาเป็นผู้อ่านหนังสือ 

ใส่เทปไว้ให้คนตาบอดฟัง ทำอะไรที่ดีและมีประโยชน์ต่อผู้อื่น 

บ้าง แล้วความรู้สึกไม่ดีในใจจะเลือนจางโดยไม่ต้องนั่งกังวลว่า 

จะจัดการกับความทุกข์ของตนอย่างไร 
             
                                                             








                                                                                                 ขอบคุณเครดิต///www.umarin.com

วันพฤหัสบดีที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2555


Good Teaching Is Timeless
BY JERROLD FRANK
         Over the past 50 years the how and why of what we teach has been the focus of much thought,research, and deliberation. From Grammar-Translation to the Communicative Approachand beyond, the best methodology for English language teaching (ELT) has supposedly been discovered many times. Yet through it all, or perhaps despite it all, teachers have continued to teach and students have continued to learn. While many changes have occurred in ELT over the past five decades, good teaching is timeless. Whether using a SMART Board or a chalkboard, an effective teacher must be able to help each student connect to the material and the subject.

        The three articles reprinted here illustrate the timelessness of good teaching. In the first selection,
“The Conversation Class,” Acy L. Jackson (1969) incorporates many of the traits of good teaching discussed in the literature of that era into a lesson fresh enough to plug into any modern classroom. While the colored slides he refers to in his extension activities could be implemented in new ways today, Jackson
describes how to create an atmosphere conducive to learning that is still relevant. His techniques, lesson plan, and extension activities offer opportunities for students to make powerful connections with the target language.

        In the second selection, Alan C. McLean’s 1980 article “Destroying the Teacher: The Need for Learner-Centered Teaching” reminds us that good teaching from the time of Plato until today has actively involved students in the process by helping them to become initiators in their own learning. McLean’s article reminds us that effective teachers understand that it is not their job to listen to their own voices but rather to guide and nurture students into hearing theirs. McLean demonstrates the importance of understanding students individually and shows how teachers can provide them with opportunities to make meaningful connections in their own learning.



        Finally, Patricia Miller (1987), a long-time teacher, puts herself on the other side of the desk to identify through the eyes of a student what she feels to be ten characteristics of a good teacher. Her list reminds us of some of the central qualities of timeless teaching. While this article and the others were all written in the
previous century, each in its own way reflects what good teachers have been doing throughout time and will continue to do as long as there are teachers.
ที่มา : http://americanenglish.state.gov/resources/english-teaching-forum-2012

สรุปความรู้
การสอนที่ดีเป็นอมตะ
        เมื่อประมาณ 50 ปีทีผ่านมา วิธีการและสิ่งที่ครูสอนนั้นเน้นเฉพาะการวิจัยและการคิดไตร่ตรองเท่านั้น จากการสอนที่เน้นกฎไวยากรณ์และใช้การแปลเป็นสื่อให้นักเรียนเข้าใจบทเรียน มาเป็นวิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร และนอกจากนี้วิธีการที่ดีที่สุดในการสอนภาษาอังกฤษได้รับการค้นพบหลาย ๆ ครั้ง แม้จะมีวิธีการสอนที่ดีหลายๆวิธี แต่ครูยังคงสอนและนักเรียนก็ยังคงเรียนได้อย่างต่อเนื่อง การสอนภาษาอังกฤษเมื่อห้าทศวรรษที่ผ่านมาเป็นการสอนที่ดีซึงเป็นอมตะ ไม่ว่าจะใช้สมาร์ทบอร์ดหรือกระดานดำ, ครูที่มีประสิทธิภาพจะต้องสามารถที่จะช่วยให้นักเรียนแต่ละคนเชื่อมโยงกับวัตถุและเรื่องที่เรียนได้

          ACY L. Jackson (1969)รวมเอาหลายๆลักษณะของการสอนที่ดีที่กล่าวไว้ในวรรณกรรมของยุคนั้นเป็นบทเรียนสดใหม่พอที่จะบรรจุเข้าไปในห้องเรียนที่ทันสมัยในขณะที่สไลด์สีเขาจะหมายถึงในกิจกรรมส่วนขยายของเขาอาจจะดำเนินการอยู่ในรูปแบบใหม่ในทุกวันนี้ แจ็คสันอธิบายถึงวิธีการสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ที่ยังคงมีความเกี่ยวข้อง เทคนิค,แผนการสอน,และการขยายโอกาสสำหรับนักเรียนที่จะสร้างการเชื่อมโยงที่มีประสิทธิภาพด้วยภาษาเป้าหมาย

          บทความของอลันซีแมคลีน "การทำลายครู: เน้นความต้องการของผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการสอน" บทความอลันซีแมคลีน "การทำลายครู: ต้องการสำหรับผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการสอน" เตือนเราว่าการเรียนการสอนที่ดีจากเวลาของเพลโตจนกระทั่งทุกวันนี้ นักเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการการเรียนรู้ของตนเอง ครูควรจะแนะแนวทางและบ่มเพาะในการฟังให้กับนักเรียน แมคลีนยังแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการเข้าใจนักเรียนเป็นรายบุคคลและแสดงให้เห็นว่าครูผู้สอนสามารถให้พวกเขามีโอกาสที่จะสร้างความเชื่อมโยงที่มีความหมายในการเรียนรู้ของตนเอง

         แพทริเซีย มิลเลอร์ กล่าวถึง 10 บุคลิกลักษณะของครูที่ดีจากสายตาของนักเรียน บทความของเธอเตือนให้เราตระหนักถึงคุณภาพบางส่วนของการเรียนการสอนที่เป็นอมตะ ในขณะที่บทความอื่นๆที่ถูกเขียนขึ้นก่อนหน้านี้กล่าวถึงแต่วิธีของตัวเองที่สะท้อนให้เห็นถึงสิ่งที่ครูที่ดีได้ทำตลอดเวลาและจะยังคงทำตราบใดที่เป็นครู



วันอังคารที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2555

ครูพี่แนน ภาษาอังกฤษแบบ Memomlody Method

ครูพี่แนน ภาษาอังกฤษแบบ Memomlody Method




เทคนิคการสอนแบบ TPR




Total physical response (TPR)

TPR (total physical response) is a method of teaching language using physical movement to react to verbal input in order to reduce student inhibitions and lower their effective filter. It allows students to react to language without thinking too much, facilitates long term retention, and reduces student anxiety and stress. In order to implement TPR effectively, it is necessary to plan regular sessions that progress in a logical order, and to keep several principles in mind.


What's so good about TPR anyway?
● Easy to implement/no translation
    TPR instruction requires no translation or L1 support. It can help students and teachers make the transition to an English language environment.
● New playing field: no disadvantage for academically weaker students 

   TPR does not depend on left-brain, “academic” skills. This gives all students a chance to shine in a new environment.
● Trains students to react to language and not think about it too much TPR requires an instant reaction. 
    As there is no time to think during TPR practice,students can break the bad habit of over-analyzing language and become more comfortable with “going with the flow”, or guessing from context.
● Reduces pressure and stress for students
    TPR does not require a spoken response from students. Also, if implemented properly,students always understand what is happening during TPR practice, resulting inincreased confidence and a lowering of the affective filter.
● Different style of teaching/learning    TPR can be a break for both students and teachers, a refreshingly different style of teaching. Judiciously used, it can break up a lesson or day and keep students alert.
● Long-term retention/“magic” effect    TPR results in long-term retention of language items, and the constant repetition and recycling involved reinforces this leading to a “magic” learning experience.
● Repetition is disguised: more effective input
    Skillful use of TPR allows us to drill language targets repeatedly without losing student interest.
● Addresses important weakness of Japanese students
   Japanese students, due to teaching methods and their school environment, have tended to be strong at reading and writing English, and weak at listening and speaking. TPR addresses this by working on students' aural comprehension, at the same time as forcing them to be active listeners.
● Perfect for TT
   TPR is perfect for team-teaching classes, as with two teachers one can serve as the model while the other calls out commands.
● Hard to show
    Results come from regular, planned application. One shot lessons, while perhaps interesting or diverting, do not yield the same results as a carefully thought out series of lessons.


Some principles
● Prepare a script    It is essential to prepare a script for what you want to do, as it is extremely important not to change the language half way through. It is also important to recombine previously learned language in new ways. These factors, combined with the pace necessary for successful TPR instruction, mean that it is extremely difficult to improvise the commands.
● Build on what has gone before
    TPR instruction should be seen as a progression, with new language being added to and combined with the old every session.
● Recycle language and review extensively    On a similar note, previously learned language should be reviewed and cycled into lessons constantly in order to reinforce it.
● Don't change the target language
   While it can be useful to introduce synonyms, it is extremely important that the language not be changed half-way through a session. This is extremely confusing for students.
● Be good-natured and positive
    In order for students to relax and feel comfortable, during TPR practice the teacher should project a friendly and positive manner.
● Introduce limited number of new items and manipulate them extensively
    It is very important to limit the number of new items in order to avoid student overload and to allow students to process and absorb the language. New and old language should be manipulated in a variety of ways in order to give students a large amount of practice.
● Incorporate some humor    Once students are used to TPR practice, introducing a limited amount of humor into the class can greatly increase students interest and enjoyment.
● Students don't speak    Students should not be forced to repeat the commands or otherwise speak until they are ready.

● Students don't “help” each other
   Students should not need help with the TPR commands, as the meaning should be obvious from context/the teachers' explanation/previously learned language. Translating commands into Japanese reverts to left brain input, and the benefits of TPR are lost. Student listening abilities are also not improved.


อ้างอิง : www.c-english.com/files/tpr.pdf


สรุปความรู้ที่่ได้รับ
        เทคนิคการสอนภาษาด้วย TPR – Total Physical Response หมายถึง การสอนภาษาโดยการใช้ท่าทาง โดยให้ผู้เรียนฟังคำสั่งจากครูแล้วผู้เรียนทำตาม เป็นการประสานการฟังกับการใช้การเคลื่อนไหวของร่างกายเป็นการตอบรับให้ทำตาม โดยผู้เรียนไม่ต้องพูด วิธีสอนภาษาโดยการใช้ท่าทางใช้สำหรับการเริ่มต้นเรียนภาษาที่ 2
ข้อดีของเทคนิคการสอนแบบ TPR
  • ง่ายต่อการใช้ / ไม่มีการแปล
  • สนามเด็ดเล่นแห่งใหม่ : ไม่มีข้อเสียเปรียบด้านวิชาการสำหรับเด็กที่เรียนไม่เก่ง
  • การฝึกนักเรียนให้ตอบสนองต่อภาษาและไม่ให้คิดมากเกินไป
  • ช่วยลดความกดดันและความเครียดสำหรับนักเรียน
  • ลักษณะที่แตกต่างจากการเรียนการสอน / การเรียนรู้
  • มีผลต่อความทรงจำระยะยาว
  • การทำซ้ำมีการปลอมแปลง: เพิ่มเติมประสิทธิภาพเข้ามา
  • เป็นจุดอ่อนที่สำคัญของนักเรียนญี่ปุ่น
  • เป็นสิ่งที่สมบรูณ์สำหรับการเรียนการสอนเป็นทีม
  • ยากสำหรับการแสดง
หลักการของเทคนิคการสอนแบบ TPR
  • เตรียมสคริปต์
  • เสริมสร้างในสิ่งที่ได้หายไปก่อน
  • มีการหมุนเวียนของภาษาและมีการทบทวนอย่างสม่ำเสมอ
  • อย่าเปลี่ยนภาษาเป้าหมาย
  • มีอัธยาศัยดี  เพื่อให้นักเรียนที่จะผ่อนคลายและรู้สึกสะดวกสบายในระหว่างการปฏิบัติ ครูควรโครงการลักษณะที่เป็นมิตรและเป็นบวก
  • แนะนำจำนวนที่ จำกัด ของรายการใหม่และมีการจัดการให้ครอบคลุมทั้งหมด
  • มีอารมณ์ขันบ้าง  
  • นักเรียนห้ามพูด ไม่ควรบังคับนักเรียนให้ทำซ้ำคำสั่งหรือจนกว่าพวกเขาพร้อมจะพูด
  • ห้ามนักเรียน"ช่วยเหลือ" ซึ่งกันและกัน